บทความ

กฎเพิ่มเติม

คําที่ตัวสะกดของพยางค์หน้าออกเสียงเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ตัวต่อไปด้วย ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้           1) ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นเสียง สระอะ ซึ่งเมื่อทับศัพท์ต้องใช้รูปไม้หันอากาศให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์หน้าเข้าอีกตัวหนึ่งเพื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น      Couple          = คัปเปิล Double          = ดับเบิล            2) ถ้าสระของพยางค์หน้า เป็นสระอื่นที่ไม่ใช่ สระอะ ให้ทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษโดยไม่ต้องซ้อนพยัญชนะ เช่น      California        = แคลิฟอร์เนีย General          = เจเนอรัล            3) ถ้าเป็นคําที่เกิดจากการเติม เช่น - er, -ing, -ic, -y และการทับศัพท์ตามข้อ 2) อาจทําให้ออกเสียงผิดไปจากภาษาเดิมมาก ให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์ต้นอีกหนึ่ง เพื่อให้เห็นเค้าคำเดิม เช่น      Sweater         = สเวตเตอร์ Booking         = บุกกิง                                Snoopy          = สนูปปี

คำประสมและคำคุณศัพท์

คำประสมและคำคุณศัพท์ คำประสม คำประสมที่มีเครื่องหมาย ยัติภังค์ ( Hyphen) [ - ] ให้ทับศัพท์โดยเขียนติดต่อกันไป เช่น      Cross-Stitch              = ครอสสติตช์ ยกเว้น ในกรณีที่เป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนาม เช่น                     Cobalt- 60                 = โคบอลต์- 60                     McGraw-Hill              = แมกกรอว์-ฮิลล์ คําประสมซึ่ง ในภาษาอังกฤษเขียนแยกกันเมื่อทับศัพท์ให้เขียนติดกันไปไม่ต้องแยกคําตามภาษาเดิม เช่น      Calcium Carbonate    = แคลเซียมคาร์บอเนต Night Club                = ไนต์คลับ New Guinea              = นิว กินี คำคุณศัพท์ คำคุณศัพท์เกี่ยวกับชนชาติต่าง ๆ ให้ทับศัพท์ในรูปคํานามที่เป็นชื่อประเทศ เช่น      Swedish people        = คนสวีเดน                     Hungarian dance       = ระบําฮังการี ยกเว้น ชื่อที่เคยใช้มานานแล้วได้แก่ ประเทศเยอรมนี           ใช้ว่      …เยอรมัน         เช่น ภาษาเยอรมัน  ประเทศกรีซ               ใช้ว่า    …กรีก             เช่น เรือกรีก ประเทศไอร์แลนด์         ใช้ว่า    …ไอริช            เช

พยัญชนะซ้อน (Double Letter)

พยัญชนะซ้อน ( Double Letter) คําที่มีพยัญชนะซ้อนเป็นตัวสะกด ถ้าเป็นศัพท์ทั่วไปให้ ตัดออกตัวหนึ่ง เช่น      footba ll          =        ฟุตบอล แต่ถ้าเป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนามให้เก็บไว้ทั้ง ๒ ตัว โดยใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้ที่ตัวท้าย เช่น      ce ll               =        เซลล์                     James Wa tt    =        เจมส์ วัตต์ ถ้าพยัญชนะซ้อนอยู่กลางศัพท์ให้ถือว่า พยัญชนะซ้อนตัวแรกเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้าและพยัญชนะซ้อนตัวหลังเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป ฉะนั้น การใช้พยัญชนะตัวสะกดและพยัญชนะต้น จะต่างกันตามหลักเกณฑ์การเทียบพยัญชนะดังที่เคยได้อธิบายไปแล้ว เช่น      Pa tt ern          =        แพตเทิร์น  Mi ss ouri         =        มิสซูรี Bro cc oli         =        บรอกโคลี

คำย่อ

คำย่อ ในกรณีปกติให้เขียนชื่อตัวอักษรนั้นๆ ลงเป็นภาษาไทย ดังนี้ A = เอ B = บี C = ซี D = ดี E = อี F = เอฟ G = จี H = เอช I = ไอ J = เจ K = เค L = แอล M = เอ็ม N = เอ็น O = โอ P = พี Q = คิว R = อาร์ S = เอส T = ที U = ยู V = วี W = ดับเบิลยู X = เอกซ์ Y = วาย Z = แซด และให้เขียนโดยไม่ต้องใส่จุด และไม่เว้นช่องไฟ เช่น      BBC = บีบีซี               F.B.I = เอฟบีไอ                      DDT = ดีดีที คำทับศัพท์ที่เกิดขึ้นจากการนำตัวย่อมารวมกัน ซึ่งสามารถอ่านออกเสียงได้เสมือนคําคําหนึ่ง ไม่ได้ด้ออกเสียงเรียงตามตัวย่อแต่ละตัว ให้เขียนตามการออกเสียงและไม่ต้องใส่จุด เช่น      USIS = ยูซิส               UNESCO = ยูเนสโก                ASEAN = อาเซียน ตัวย่อชื่อบุคคล ให้เขียนโดยใส่จุด และเว้นช่องไฟระหว่างชื่อกับนามสกุล เช่น       

การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต, ไม้ไต่คู้ และเครื่องหมายวรรณยุกต์

การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต พยัญชนะตัวที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกํากับไว้ เช่น                     Ho r n             =        ฮอร์น                     Win d sor         =        วินด์เซอร์ คําหรือพยางค์ที่ตัวสะกดมีพยัญชนะตามมาหลายตัว ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาต ไว้บนพยัญชนะที่ไม่ออกเสียงตัวสุดท้ายแต่เพียงแห่งเดียว เช่น                     Okhot sk         =        โอค็อตสก์                     Baren ts          =        แบเร็นตส์           คำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงอยู่หน้าตัวสะกด ที่ยังมีพยัญชนะตามหลังมาอีก ให้ตัดพยัญชนะที่อยู่หน้าตัวสะกดออก และ ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะตัวสุดท้าย เช่น Wo r l d             =        เวิลด์  Qua r t z           =        ควอตซ์  Jo h n s             =        จอนส์  Fi r s t               =        เฟิสต์ ไม้ไต่คู้ควรใช้ในกรณีต่อไปนี้           เพื่อให้เห็นแตกต่างจากคําไทย เช่น          Log               =        ล็อก            เพื่อช่วยให้ผู้อ่านแยกพยางค์ได้ถูกต้อง เช่น              

การเทียบพยัญชนะ (3)

ต่อจากบทความ การเทียบพยัญชนะ (2) พยัญชนะภาษาอังกฤษ พยัญชนะต้น ตัวสะกดและตัวการันต์ t ท T asmania= แทสเมเนีย ต Kuwai t = คูเวต T rombone= ทรอมโบน หมายเหตุ t เมื่อเป็นพยัญชนะต้น ใช้ ท โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทยเรานิยมใช้ เสียง ต ใหใ้ ช้ ต ดังนี้ anti-, auto-, inter-, multi-, photo-; ta, -ter, -ti, -tic, -ting, -tis, -to, -ton, - tor, -tre, - tum, -tus และ - ty  เช่น Anti body = แอนติบอดี Inter com = อินเตอร์คอม Compu ter = คอมพิวเตอร์ Quan tum = ควอนตัม Zygoma ta ไซโกมาตา พยัญชนะภาษาอังกฤษ พยัญชนะต้น ตัวสะกดและตัวการันต์ th ท Th orium= ทอเรียม ท Zeni th = เซนิท thm